Category Archives: ตำบลก้อนแก้ว

ตำบลก้อนแก้ว

ตำบลก้อนแก้ว is the position for activity in post to be presented at the 1st rank on Google page search  by the focus keyword in category.

ตำบลก้อนแก้ว เป็นตำบลหนึ่งใน 5  ตำบลของอำเภอคลองเขื่อน

จังหวัดฉะเชิงเทรา เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคตะวันออกของประเทศไทย มีอาณาเขตติดต่อกับกรุงเทพมหานคร จังหวัดปทุมธานี จังหวัดนครนายก จังหวัดปราจีนบุรี จังหวัดสระแก้ว จังหวัดจันทบุรี จังหวัดชลบุรี และจังหวัดสมุทรปราการ รวมถึงมีอาณาเขตติดกับอ่าวไทยเป็นระยะสั้นประมาณ 12 กิโลเมตร[3]

ศัพทมูลวิทยา[แก้]

ที่มาของคำว่า “ฉะเชิงเทรา” มีข้อสันนิษฐานที่แตกต่างกัน 2 ข้อ คือ[4]

  • คำว่า ฉะเชิงเทรา มาจากคำภาษาเขมร 2 คำ คือ สทึง+เจรา ซึ่ง สทึง (ស្ទឹង) แปลว่า แม่น้ำสายย่อย และ เจรา (ជ្រៅ) แปลว่า ลึก เมื่อรวมความหมายก็ได้ว่า แม่น้ำลึก ซึ่งหมายถึงแม่น้ำบางปะกงนั่นเอง (มีผู้โต้แย้งข้อสันนิษฐานนี้ เนื่องจากว่าเมืองฉะเชิงเทรานั้นตั้งขึ้นมาในสมัยเดียวกับเมืองสาครบุรี เมืองนครไชยศรี และเมืองนนทบุรี ซึ่งไม่น่าจะมีคำเขมรมาปนอยู่ในชื่อเมืองแล้ว)
  • คำว่า ฉะเชิงเทรา อาจเพี้ยนมาจากคำว่า แสงเชรา แสงเซา หรือ แซงเซา (ข้อสันนิษฐานนี้ยังไม่มีหลักฐานที่ชัดเจน)

ภูมิศาสตร์[แก้]

ภูมิประเทศของจังหวัดฉะเชิงเทราแบ่งออกเป็น 2 ส่วน ได้แก่ ส่วนตะวันตกของจังหวัดตั้งอยู่บนที่ราบลุ่มแม่น้ำบางปะกง ส่วนตะวันออกมีลักษณะเป็นเนินเขา ด้วยความสูงจากระดับน้ำทะเลโดยเฉลี่ยกว่า 100 เมตร จังหวัดฉะเชิงเทรามีเกาะจำนวน 1 เกาะ คือ เกาะกลาง ที่บริเวณปากแม่น้ำบางปะกง

สัญลักษณ์ของจังหวัด[แก้]

หน่วยการปกครอง[แก้]

ภาพภายในตัวอำเภอเมืองฉะเชิงเทรา

การปกครองแบ่งออกเป็น 11 อำเภอ 93 ตำบล 859 หมู่บ้าน

การปกครองส่วนท้องถิ่น[แก้]

มีองค์การปกครองส่วนท้องถิ่นทั้งหมด 110 แห่ง แบ่งออกเป็น 1 เทศบาลเมือง 33 เทศบาลตำบล 1 องค์การบริหารส่วนจังหวัด และ 74 องค์การบริหารส่วนตำบล โดยมีรายชื่อเทศบาลดังนี้

ประชากร[แก้]

สถิติประชากรตามทะเบียนราษฎรจังหวัดฉะเชิงเทรา
ปี ประชากร ±%
2553 673,933
2554 679,370 +0.8%
2555 685,721 +0.9%
2556 690,226 +0.7%
2557 695,478 +0.8%
2558 700,902 +0.8%
2559 704,399 +0.5%
2560 709,889 +0.8%
2561 715,009 +0.7%
อ้างอิง:กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย

การศึกษา[แก้]

มหาวิทยาลัย[แก้]

วิทยาลัย[แก้]

โรงเรียน[แก้]

สถานที่ท่องเที่ยว[แก้]

บุคคลที่มีชื่อเสียง[แก้]

ด้านศาสนา[แก้]

ด้านอื่น ๆ[แก้]

▪ นายวิชัย มาลีนนท์ ผู้ก่อตั้งและบุกเบิก สถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3 อ.ส.ม.ท.

ดูเพิ่ม[แก้]

Call Now Button