Category Archives: อำเภอบางละมุง

อำเภอบางละมุง

อำเภอบางละมุง  is the position for activity in post to be presented at the first rank on Google pagesearch by focus keyword name in category.

จังหวัดชลบุรี เป็นจังหวัดที่ติดกับอ่าวไทยจังหวัดหนึ่งในภาคตะวันออกของประเทศไทย มีสถานที่ท่องเที่ยวที่มีชื่อเสียงหลายแห่งตั้งอยู่ นอกจากด้านอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวแล้วยังเป็นจังหวัดที่มีความสำคัญทางเศรษฐกิจสำคัญของภาคตะวันออกอย่างมาก นอกจากนั้นยังเป็นทั้งในด้านพาณิชยกรรมและอุตสาหกรรมต่าง ๆ ของประเทศ

ในอดีตจังหวัดชลบุรีนั้นเคยเป็นแหล่งที่ตั้งของเมืองท่าที่มีความสำคัญมาก แม้แต่ในปัจจุบันนี้ก็ยังคงเป็นที่ตั้งของท่าเรือที่มีความสำคัญของประเทศรองจากท่าเรือกรุงเทพ นั่นก็คือท่าเรือแหลมฉบัง เนื่องจากมีทำเลที่ตั้งเหมาะสม จังหวัดชลบุรีนั้นมีอาณาเขตติดกับจังหวัดฉะเชิงเทรา จังหวัดระยอง และจังหวัดจันทบุรี

ประวัติศาสตร์[edit]

จังหวัดชลบุรีเคยเป็นชุมชนโบราณที่เคยมีมนุษย์ยุคหินใหม่อาศัยอยู่มาตั้งแต่สมัยก่อนประวัติศาสตร์ เพราะว่าเคยมีการขุดค้นด้านโบราณคดีแล้วพบร่องรอยของชุมชนโบราณก่อนประวัติศาสตร์บริเวณที่ราบลุ่มแม่น้ำพานทองซึ่งอยู่ในบริเวณวัดโคกพนมดี ตำบลท่าข้าม อำเภอพนัสนิคม พบร่องรอยของชุมชนโบราณก่อนประวัติศาสตร์โคกพนมดี ทำให้สันนิษฐานได้ว่าในอดีตพื้นที่บริเวณจังหวัดชลบุรีเคยเป็นที่ตั้งเมืองโบราณที่มีความรุ่งเรืองถึง 3 เมือง ได้แก่ เมืองพระรถ, เมืองศรีพโล และเมืองพญาแร่ โดยอาณาเขตของ 3 เมืองนี้รวมกันเป็นจังหวัดชลบุรีในปัจจุบัน

ซึ่งแหล่งโบราณคดีที่ค้นพบในครั้งนั้นได้พบสิ่งมีคุณค่าทางโบราณคดีหลายอย่าง เช่น ขวานหินขัด, เครื่องประดับจำพวกกำไล, ลูกปัด เครื่องปั้นดินเผาแบบใช้เชือกทาบ และได้พบซากของอาหารทะเลอีกด้วย จึงทำให้ทราบว่าบริเวณนี้อยู่ใกล้ชายฝั่งทะเลมากกว่าปัจจุบันนี้มาก แหล่งโบราณคดีที่กล่าวอ้างทั้งหมดข้างต้นนั้นจึงเป็นหลักฐานยืนยันส่วนหนึ่งที่แสดงให้เห็นถึงความเป็นมาอันแสนยาวนานของจังหวัดชลบุรี

ในสมัยกรุงศรีอยุธยาเมืองชลบุรีปรากฏเป็นหลักฐานในทำเนียบศักดินาหัวเมือง ตราเมื่อ พ.ศ. 1919 มีฐานะเป็นเมืองจัตวา ผู้รักษาเมืองคือ “ออกเมืองชลบุรีศรีมหาสมุทร” ศักดินา 2,400 ไร่ ส่งส่วยไม้แดง จนกระทั่งกรุงศรีอยุธยาเสียแก่พม่าเมื่อ พ.ศ. 2310 สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชได้เสด็จยกทัพผ่านมาทางบริเวณจังหวัดชลบุรีในปัจจุบัน ก่อนที่จะเข้าตีเมืองจันทบุรี และยกทัพกลับไปกู้กรุงศรีอยุธยาได้สำเร็จ

ต่อมาในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น ยังไม่มีการจัดตั้งจังหวัดชลบุรีขึ้นเป็นทางการ บริเวณจังหวัดชลบุรีประกอบไปด้วยเมืองใหญ่ 3 เมือง คือ เมืองบางปลาสร้อย, เมืองพนัสนิคม และเมืองบางละมุง

ในรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้ทรงปฏิรูประบบการปกครองราชอาณาจักร โดยการจัดตั้งมณฑลเทศาภิบาล ให้อยู่ภายใต้บังคับบัญชาของกระทรวงมหาดไทยหน่วยงานเดียว จึงรวมเมืองพนัสนิคมและเมืองบางละมุงขึ้นต่อเมืองชลบุรี อยู่ในสังกัดมณฑลปราจีน ดังมีบันทึกว่า

รวมหัวเมืองทางลำน้ำบางปะกง คือ เมืองปราจีนบุรี 1, เมืองนครนายก 1, เมืองพนมสารคาม 1 และเมืองฉะเชิงเทรา 1 รวม 4 หัวเมือง เป็นเมืองมณฑล 1 เรียกว่า มณฑลปราจีน ตั้งที่ว่าการมณฑล ณ เมืองปราจีน ต่อเมื่อโอนหัวเมืองในกรมท่ามาขึ้นกระทรวงมหาดไทย จึงย้ายที่ทำการมณฑลลงมาตั้งที่เมืองฉะเชิงเทรา เพราะขยายอาณาเขตมณฑลต่อลงไปทางชายทะเล รวมเมืองพนัสนิคม, เมืองชลบุรี และเมืองบางละมุง เพิ่มให้อีก 3 รวมเป็น 7 เมืองด้วยกัน แต่คงเรียกชื่อว่ามณฑลปราจีนอยู่ตามเดิม

ต่อมาในสมัยหลังการเปลี่ยนแปลงการปกครองปี พ.ศ. 2475 มีการเปลี่ยนแปลงรูปการปกครองประเทศครั้งใหญ่โดยพระราชบัญญัติระเบียบราชการบริหารแห่งราชอาณาจักรสยาม พ.ศ. 2476 ระบบมณฑลเทศาภิบาลถูกยกเลิก ทำให้จังหวัดกลายเป็นหน่วยการปกครองส่วนภูมิภาคระดับสูงสุด

อนึ่งเมืองพนัสนิคมยุบเป็นอำเภอพนัสนิคมก่อนที่จะแยกออกเป็นอำเภอพานทอง อำเภอบ่อทอง อำเภอหนองใหญ่และอำเภอเกาะจันทร์ เมืองบางละมุงยุบเป็นอำเภอบางละมุง ก่อนที่จะแยกออกเป็นอำเภอศรีราชา, อำเภอสัตหีบ และเมืองชลบุรีเป็นเมืองศูนย์กลางจังหวัดและได้แยกออกเป็นอำเภอบ้านบึง

ภูมิอากาศ[edit]

ลักษณะอากาศทั่วไป จังหวัดชลบุรีอยู่ภายใต้อิทธิพลของมรสุมที่พัดเวียนประจ้าฤดูกาล 2 ชนิด คือ มรสุม ตะวันออกเฉียงเหนือที่พัดปกคลุมในช่วงฤดูหนาวตั้งแต่ประมาณกลางเดือนตุลาคมถึงกลางเดือนกุมภาพันธ์ ซึ่ง จะน้าความความเย็นมาสู่จังหวัด และคลื่นลมปานกลาง กับมรสุมตะวันตกเฉียงใต้ที่พัดปกคลุมในช่วงฤดูฝน ประมาณกลางเดือนพฤษภาคมถึงกลางเดือนตุลาคมท้าให้มีฝนตกชุกและคลื่นลมแรง

ฤดูกาล

พิจารณาตามลักษณะลมฟ้าอากาศของประเทศไทย แบ่งฤดูกาลของจังหวัดชลบุรีออกเป็น 3 ฤดูดังนี้  ฤดูหนาว เริ่มตั้งแต่กลางเดือนตุลาคมถึงกลางเดือนกุมภาพันธ์ ซึ่งเป็นฤดูมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือพัด ปกคลุมประเทศไทย และบริเวณความกดอากาศสูงจากประเทศจีนที่มีคุณสมบัติเย็นและแห้งแผ่ลงมาปกคลุม ประเทศไทยในช่วงนี้ แต่เนื่องจากจังหวัดชลบุรีอยู่ในละติจูดที่ค่อนข้างต่าไกลจากศูนย์กลางของบริเวณความกด อากาศสูงท้าให้อากาศหนาวเย็นที่แผ่ลงมาได้คลายความเย็นลงไปประกอบกับจังหวัดชลบุรีมีชายฝั่งทะเลท้าให้ อากาศไม่หนาวเย็นมากนัก

ฤดูร้อน เริ่มตั้งฤดูมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือสิ้นสุดลงคือประมาณกลางเดือนกุมภาพันธ์ถึงกลางเดือน พฤษภาคม  ฤดูนี้จะมีลมฝ่ายใต้และลมตะวันออกเฉียงใต้พัดปกคลุม โดยมีก้าลังค่อนข้างแรงและสม่าเสมอ อย่างไรก็ตามในฤดูร้อนจังหวัดชลบุรีจะมีอากาศไม่ร้อนมากนัก เนื่องจากมีลมทะเลข่วยบรรเทาความร้อนแต่จะมี คลื่นลมค่อนข้างแรงในช่วงบ่ายและเย็น  ฤดูฝน เริ่มตั้งแต่กลางเดือนพฤษภาคมถึงกลางเดือนตุลาคม เป็นช่วงที่มรสุมตะวันตกเฉียงใต้พัดปกคลุม ประเทศไทย ซึ่งจะน้าความชื้นจากทะเลอันดามันพัดผ่านอ่าวไทยเข้าสู่ภาคตะวันออก ในระยะเริ่มต้นของมรสุม จะปรากฏมีฝนฟ้าคะนอง ในเดือนมิถุนายนฝนจะลดลงและเป็นช่วงฝนทิ้งช่วง เดือนที่มีฝนตกชุกคือเดือน สิงหาคม กันยายน และตุลาคม โดยปริมาณฝนจะลดลงอย่างชัดเจนอีกครั้งประมาณเดือนพฤศจิกายนแสดงให้ เห็นว่าฤดูฝนได้สิ้นสุดลง

อุณหภูมิ  จังหวัดชลบุรีเป็นจังหวัดที่อยู่ติดชายฝั่งทะเลและอยู่ในภาคตะวันออกของประเทศ อุณหภูมิของจังหวัด ชลบุรีตลอดทั้งปีไม่เปลี่ยนแปลงมากนักกล่าวคือฤดูร้อนอากาศไม่ร้อนจัดและฤดูหนาวอากาศก็ไม่หนาวจัด อุณหภูมิเฉลี่ยตลอดทั้งปี 28.5 องศาเซลเซียส อุณหภูมิสูงสุดเฉลี่ย 33.3 องศาเซลเซียส ส่วนอุณหภูมิต่าสุดเฉลี่ย คือ 24.8 องศาเซลเซียส อุณหภูมิสูงที่สุดที่เคยตรวจวัดได้ 40.5 องศาเซลเซียส ที่สถานีอุตุนิยมวิทยาสัตหีบ เมื่อ วันที่ 10 เมษายน 2495 และวันที่ 2 พฤษภาคม 2495 และอุณหภูมิต่าที่สุดที่เคยตรวจวัดได้ 9.9 องศาเซลเซียส ที่สถานีอุตุนิยมวิทยาชลบุรี เมื่อวันที่ 12 มกราคม 2498

ฝน  จังหวัดชลบุรีมีพื้นที่ด้านตะวันตกของจังหวัดติดชายฝั่งทะเลท้าให้ปริมาณฝนบริเวณชายฝั่งแตกต่างจาก บริเวณที่อยู่ลึกเข้าไปในแผ่นดิน   พื้นที่ชายฝั่งบริเวณอ้าเภอเมือง เกาะสีชัง และสัตหีบมีฝนชุกและปริมาณฝน รวมมากกว่าพื้นที่อื่น โดยมีปริมาณฝนรวมตลอดปีมากกว่า 1,200 มิลลิเมตร  ส่วนพื้นที่บริเวณอ้าเภอบางละมุง เป็นพื้นที่ที่มีฝนน้อยอยู่ในเกณฑ์ต่ากว่า 1,200 มิลลิเมตร  ปริมาณฝนรวมตลอดปีของอ้าเภอเมืองจังหวัดชลบุรี คือ 1,295.6 มิลลิเมตร โดยมีจ้านวนวันฝนตก 120 วัน ช่วงที่มีฝนตกชุกของจังหวัดชลบุรีคือในช่วงเดือน กันยายน มีปริมาณฝนเฉลี่ย 268.9 มิลลิเมตร และมีฝนตก 20 วัน โดยปริมาณฝนสูงที่สุดใน 24 ชั่วโมง ที่เคย ตรวจวัดได้ของจังหวัดคือ 319.6 มิลลิเมตร ที่อ้าเภอสัตหีบ เมื่อวันที่ 30 พฤศจิกายน 2513    พายุหมุนเขตร้อน พายุหมุนเขตร้อนที่เคลื่อนเข้าสู่บริเวณจังหวัดชลบุรีส่วนใหญ่เป็นพายุดีเปรสชัน ซึ่งส่งผลให้เกิดน้าท่วม ในบางพื้นที่ พายุที่พัดเข้ามาส่วนใหญ่มีแหล่งก้าเนิดและพัดมาจากบริเวณปลายแหลมญวนในทะเลจีนใต้เข้าสู่ก้น อ่าวไทย และส่วนใหญ่เกิดในเดือนตุลาคมและพฤศจิกายน  จากสถิติในคาบ 68 ปี ตั้งแต่ พ.ศ. 2494 – 2561 พบว่ามีพายุหมุนเขตร้อนเคลื่อนตัวผ่านจังหวัดชลบุรี ทั้งหมด 4 ลูก ซึ่งส่วนใหญ่มีก้าลังแรงเป็นพายุดีเปรสชันเคลื่อนเข้ามาในเดือนพฤษภาคม 1 ลูก (2504) เดือน ตุลาคม 2 ลูก (2500, 2507) และเป็นพายุโซนร้อนซึ่งอ่อนก้าลังลงจากพายุไต้ฝุ่น VAE เคลื่อนตัวเข้าสู่ประเทศ ไทยที่จังหวัดตราด เมื่อวันที่ 22 ตุลาคม 2495 ผ่านจังหวัดจันทบุรีและเข้าสู่จังหวัดชลบุรี

หน่วยการปกครอง[edit]

การปกครองส่วนภูมิภาค[edit]

แผนที่อำเภอในจังหวัดชลบุรี

จังหวัดชลบุรีแบ่งการปกครองส่วนภูมิภาคออกเป็น 11 อำเภอ 92 ตำบล 687 หมู่บ้าน โดยอำเภอทั้ง 11 อำเภอมีดังนี้

การปกครองส่วนท้องถิ่น[edit]

จังหวัดชลบุรีมีองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นทั้งหมด 99 แห่ง ประกอบด้วย องค์การบริหารส่วนจังหวัด 1 แห่ง คือ องค์การบริหารส่วนจังหวัดชลบุรี มีเทศบาล 47 แห่ง เป็นเทศบาลนคร 2 แห่ง เทศบาลเมือง 10 แห่ง และเทศบาลตำบล 35 แห่ง ที่เหลือเป็นองค์การบริหารส่วนตำบลจำนวน 50 แห่ง นอกจากนี้ ยังมีเขตการปกครองส่วนท้องถิ่นรูปแบบพิเศษ 1 แห่ง คือ เมืองพัทยา[2] โดยเทศบาลทั้งหมดแบ่งตามอำเภอในจังหวัดชลบุรี (รวมเมืองพัทยา) มีดังนี้

ห้วยใหญ่ แผ่นโปร่งแสง แผ่นใส สีขาวขุ่น 

ตำบลห้วยใหญ่ หลังคา พียู ลายไม้

ตำบลหนองปลาไหล แพนเนล พียู 

ตำบลหนองปรือ หลังคา แซนวิช พียูโฟม

ตำบลนาเกลือ แผ่นใส สีใสกระจก

ตำบลตะเคียนเตี้ย แผ่นใส สีขาวขุ่น 

Call Now Button